เข้าไปดาวโหลดที่เว็บ kitt.kvc.ac.th แล้วดับเบิ้ลคลิกเข้าไป save ไว้ที่โฟดเดอร์ c:/appserv แล้วดับเบิ้ลคลิกเข้าไปมันจะแสดงคำว่า run แล้วคลิกเข้าไปทำการติดตั้ง โปรแกรมจะแสดงหน้าจอ จะแสดง Welcome to the AppServ 2.5.9 Setup Wizard เป็นข้อความต้อนรับเข้าสู่การติดตั้ง ให้คลิกปุ่ม Next ได้เลย หน้าจอ จะแสดง License Agreement เป็นข้อความแสดงลิขสิทธฺ์ GNU LESSER เมื่อคุณอ่านและเข้าใจลิขสิทธิ์นี้แล้ว ก็คลิกปุ่ม I Agree ได้เลย หน้าจอ จะแสดง Choose Install Location เป็นการเลือกโฟลเดอร์ที่ใช้ในการติดตั้ง Appserv โดยค่าดีฟอลต์จะเลือกติดตั้งไปที่โฟลเดอร์ C:\AppServ เมื่อคุณเลือกโฟลเดอร์ได้แล้ว ก็คลิกปุ่ม Next หน้าจอ จะแสดง Select Component เป็นการเลือกส่วนประกอบของ AppServ ซึ่งมีดังนี้Apache HTTP Server - โปรแกรม Webserver ชื่อดัง ที่จำลองโฮสต์บนเครื่องของเราให้เลือกส่วนประกอบทั้งหมด โดยคลิกถูกหน้าช่องทั้งหมด แล้วคลิกปุ่ม Next หน้าจอ จะแสดง Apache HTTP Server Information เป็นการระบุรายละเอียดของโปรแกรมเว็บเซิร์ฟเวอร์ Apache ซึ่งมีดังนี้Server Name - ชื่อของเซิร์ฟเวอร์ หรือชื่อโฮสต์ ในที่นี้ผมระบุเป็น localhost และ Administrator's Email Address - อีเมลของผู้ดูแลระบบ หรืออีเมลของคุณ ในที่นี้ผมระบบเป็น admin@localhost.com และ HTTP Port - ชื่อพอร์ต เป็นทางออกของข้อมูล โดย Apache จะมีพอร์ตดีฟอลต์คือ 80 เมื่อคุณกรอกข้อมูลเรียบร้อยแล้ว ก็คลิกปุ่ม Next หน้าจอ จะแสดง MySQL Server Configuration เป็นการระบุรายละเอียดของโปรแกรมฐานข้อมูล MySQL ซึ่งมีดังนี้Enter root password -รหัสผ่านของผู้ดูแลระบบ ในที่นี้กำหนดเป็น 1234 และกรอกช่องข้างล่างอีกใช้รหัสเดิมเหมือนกัน และเลือก UTF-8 Unicode เท่านั้น จากนั้นเมื่อกรอกข้อมูลเรียบร้อยแล้ว ก็คลิกปุ่ม Install เพื่อติดตั้ง AppServ โปรแกรม AppServ จะทำการติดตั้ง ให้คุณรอจนกว่าจะขึ้นหน้าจอ AppServ 2.5.9 - Completing the AppServ 2.5.9 Setup Wizard ซึ่งแสดงว่าคุณได้ดำเนินการติดตั้ง AppServ เรียบร้อยแล้ว จากนั้นก็คลิกปุ่ม Finish เพื่อสิ้นสุดการติดตั้ง AppServ นะค่ะ
เพื่อตรวจสอบการทำงานว่า ได้ลง AppServ อย่างถูกต้องเรียบร้อย ให้เข้าไปที่ localhost หน้าจอจะแสดง The AppServ Open Project -2.5.9 for windows ซึ่งแสดงว่าคุณได้ลง AppServ อย่างถูกต้องแล้วค่ะ
วันพุธที่ 28 ตุลาคม พ.ศ. 2552
วันจันทร์ที่ 26 ตุลาคม พ.ศ. 2552
ความหมายของคำศัพท์
database
ฐานข้อมูลที่เกี่ยวข้องกัน ซึ่งถูกนำมาใช้ในงานด้านต่างๆ เช่น ด้านทะเบียนนักศึกษา จะมีฐานข้อมูลเกี่ยวกับนักศึกษา ข้อมูลเกี่ยวกับสินค้าคงคลังเป็นข้อมูลเหล่านี้จะถูกเก็บอย่างมีระบบเพื่อประโยชน์ในการจัดการและ การเรียกใช้ข้อมูลได้อย่างมีประสิทธิภาพ
DBMS (data base management system)
หมายถึง ซอฟต์แวร์ที่ใช้จัดการฐานข้อมูล ช่วยในการสร้างฐานข้อมูล เพิ่มข้อมูล ลบข้อมูล เรียกใช้ข้อมูล และปรับปรุงฐานข้อมูล
Database Administrators : DBAs
ของซอฟแวร์DBAs ฐานข้อมูลผู้ดูแล DBAs
Database Development
หมายถึง ซอฟต์แวร์ที่สร้างขึ้นเพื่อรวบรวมข้อมูลให้เป็นระบบ เพื่อจะได้นำไปเก็บรักษา เรียกใช้หรือนำมาปรับปรุงให้ทันสมัยได้ง่าย ทั้งนี้จำเป็นต้องคำนึงถึงการรักษาความปลอดภัยของข้อมูลเป็นเรื่องสำคัญด้วย
Data Definition Language : DDL
ภาษาที่ใช้สำหรับนิยามข้อมูล
Data Interrogation
การสืบค้นข้อมูล ความสามารถในการสืบค้นฐานข้อมูลเป็นผลประโยชน์หลักของระบบจัดการฐานข้อมูล ผู้ใช้สามารถใช้ระบบจัดการฐานข้อมูลสำหรับการขอสารสนเทศจากฐานข้อมูล โดยการใช้ภาษาสอบถาม (Query Language) หรือตัวสร้างรายงาน (Report Generator) ซึ่งทำให้สามารถรับคำตอบทันทีในรูปแบบของการแสดงทางจอภาพหรือรายงาน
Graphical and Natural Queries
กราฟิกและธรรมชาติการค้นหาผู้ใช้ ( และผู้เชี่ยวชาญสารสนเทศ) หลายรายลำบากที่จะแก้ไขวลีของ SQL และคำถามภาษาฐานข้อมูลอื่นๆ ดังนั้นโปรแกรมสำเร็จรูปฐานข้อมูลส่วนใหญ่จึงเสนอวิธีการชี้และคลิกส่วนต่อประสานกราฟิกกับผู้ใช้ (Graphical User Interface : GUI) ซึ่งง่ายต่อการใช้และใช้ซอฟต์แวร์แปลให้เป็นคำสั่ง SQL หรือโปรแกรมสำเร็จรูปอื่นที่อาจใช้ภาษาธรรมชาติ (Natural Language) ที่คล้ายกับการสนทนาภาษาอังกฤษหรือภาษาอื่นๆ
Application Development
หมายถึง วงจรการพัฒนาระบบ ให้มีขั้นตอนการทำงานที่รวบรัดมากขึ้น มีการเลือกเครื่องมือ (Tools) และเทคนิค (Techniques) ต่างๆ เพื่อช่วยในการพัฒนาระบบสนับสนุนการตัดสินใจนั้น ดำเนินการได้อย่างรวดเร็ว
Data Manipulation Language : DML
คือ ภาษาจัดการข้อมูล ภาษาที่ใช้สำหรับจัดการข้อมูลภายในฐานข้อมูล ได้แก่การเรียกค้น เพิ่ม ลบ และปรับปรุงฐานข้อมูล
Subject Area Database : SADB
หมายถึง ฐานข้อมูลซับเจ็กแอเรีย
Analytical Database
หมายถึง ฐานข้อมูลวิเคราะห์ เก็บข้อมูลและสารสนเทศที่ดึงมาจากฐานข้อมูลเชิงปฏิบัติการและฐานข้อมูลภายนอก ประกอบด้วยข้อมูลสรุปและสารสนเทศที่จำเป็นต่อผู้จัดการองค์กรและผู้ใช้
Multidimensional Database
หมายถึง ระบบฐานข้อมูลหลายมิติ
Data Warehouses
หมายถึง ฐานข้อมูลขนาดใหญ่ขององค์กรหรือหน่วยงานหนึ่งๆ ซึ่งเก็บรวบรวมข้อมูล
จากฐานข้อมูลระบบงานประจำวัน
Distributed Databases
หมายถึง ระบบฐานข้อมูลแบบกระจายนี้จะมีการแบ่งข้อมูลออกเป็นส่วนๆ กระจายอยู่ตามไซต์ (Site) หรือสาขาต่างๆ ขององค์กร ลักษณะเช่นนี้จะมีความเหมาะสมมากกับธุรกิจธนาคารหรือธุรกิจอื่นๆ ที่ต้องมีการแลกเปลี่ยนข้อมูลอยู่ตลอดเวลา
End User Databases
หมายถึง ผู้ใช้คอมพิวเตอร์ที่นำโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่คนอื่นสร้างหรือเขียนไว้แล้วมาใช้ ฐานข้อมูลที่เกี่ยวข้องกัน ซึ่งถูกนำมาใช้ในงานด้านต่างๆ
Field
เขตข้อมูล หมายถึง หน่วยของข้อมูลที่ประกอบขึ้นจากตัวอักขระตั้งแต่หนึ่งตัวขึ้นไปมารวมกันแล้วได้ความหมายของสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เช่น ชื่อ ที่อยู่ เป็นต้น
Record
ระเบียน หมายถึง หน่วยของข้อมูลที่เกิดจากการนเอาเขตข้อมูลหลาย ๆ เขตข้อมูลมารวมกัน เพื่อเกิดเป็นข้อมูลเรื่องใดเรื่องหนึ่ง เช่น ข้อมูลของนักศึกษา 1 ระเบียน (1 คน) จะประกอบด้วย
Table
หมายถึง กลุ่มของข้อมูลใดข้อมูลหนึ่งที่มีความเกี่ยวข้องกันหรือมีความสัมพันธ์กัน และถูกรวบรวมเป็นเรื่องราวเดียวกัน ถูกจัดมารวมอยู่ในที่เดียวกันอย่างเป็นระเบียบ ทำให้ง่ายต่อการค้นหา เข้าใจและนำไปใช้งาน
Entity
หมายถึง ชื่อของสิ่งใดสิ่งหนึ่ง ได้แก่ คน สถานที่ สิ่งของ การกระทำ ซึ่งต้องการจัดก็บข้อมูลไว้ เช่น
เอนทิตี้ลูกค้า เอนทิตี้พนักงาน
InfraStucture Management
หมายถึง การจัดการโครงสร้างพื้นฐานของระบบเครือข่าย การพัฒนาโครงสร้างที่เอื้ออำนวยให้เกิด
ความเจริญเติบโตต่างๆ ทั้งในด้านนโยบายและด้านกายภาพ เช่น ในด้านทรัพย์สินทางปัญญา
ฐานข้อมูลที่เกี่ยวข้องกัน ซึ่งถูกนำมาใช้ในงานด้านต่างๆ เช่น ด้านทะเบียนนักศึกษา จะมีฐานข้อมูลเกี่ยวกับนักศึกษา ข้อมูลเกี่ยวกับสินค้าคงคลังเป็นข้อมูลเหล่านี้จะถูกเก็บอย่างมีระบบเพื่อประโยชน์ในการจัดการและ การเรียกใช้ข้อมูลได้อย่างมีประสิทธิภาพ
DBMS (data base management system)
หมายถึง ซอฟต์แวร์ที่ใช้จัดการฐานข้อมูล ช่วยในการสร้างฐานข้อมูล เพิ่มข้อมูล ลบข้อมูล เรียกใช้ข้อมูล และปรับปรุงฐานข้อมูล
Database Administrators : DBAs
ของซอฟแวร์DBAs ฐานข้อมูลผู้ดูแล DBAs
Database Development
หมายถึง ซอฟต์แวร์ที่สร้างขึ้นเพื่อรวบรวมข้อมูลให้เป็นระบบ เพื่อจะได้นำไปเก็บรักษา เรียกใช้หรือนำมาปรับปรุงให้ทันสมัยได้ง่าย ทั้งนี้จำเป็นต้องคำนึงถึงการรักษาความปลอดภัยของข้อมูลเป็นเรื่องสำคัญด้วย
Data Definition Language : DDL
ภาษาที่ใช้สำหรับนิยามข้อมูล
Data Interrogation
การสืบค้นข้อมูล ความสามารถในการสืบค้นฐานข้อมูลเป็นผลประโยชน์หลักของระบบจัดการฐานข้อมูล ผู้ใช้สามารถใช้ระบบจัดการฐานข้อมูลสำหรับการขอสารสนเทศจากฐานข้อมูล โดยการใช้ภาษาสอบถาม (Query Language) หรือตัวสร้างรายงาน (Report Generator) ซึ่งทำให้สามารถรับคำตอบทันทีในรูปแบบของการแสดงทางจอภาพหรือรายงาน
Graphical and Natural Queries
กราฟิกและธรรมชาติการค้นหาผู้ใช้ ( และผู้เชี่ยวชาญสารสนเทศ) หลายรายลำบากที่จะแก้ไขวลีของ SQL และคำถามภาษาฐานข้อมูลอื่นๆ ดังนั้นโปรแกรมสำเร็จรูปฐานข้อมูลส่วนใหญ่จึงเสนอวิธีการชี้และคลิกส่วนต่อประสานกราฟิกกับผู้ใช้ (Graphical User Interface : GUI) ซึ่งง่ายต่อการใช้และใช้ซอฟต์แวร์แปลให้เป็นคำสั่ง SQL หรือโปรแกรมสำเร็จรูปอื่นที่อาจใช้ภาษาธรรมชาติ (Natural Language) ที่คล้ายกับการสนทนาภาษาอังกฤษหรือภาษาอื่นๆ
Application Development
หมายถึง วงจรการพัฒนาระบบ ให้มีขั้นตอนการทำงานที่รวบรัดมากขึ้น มีการเลือกเครื่องมือ (Tools) และเทคนิค (Techniques) ต่างๆ เพื่อช่วยในการพัฒนาระบบสนับสนุนการตัดสินใจนั้น ดำเนินการได้อย่างรวดเร็ว
Data Manipulation Language : DML
คือ ภาษาจัดการข้อมูล ภาษาที่ใช้สำหรับจัดการข้อมูลภายในฐานข้อมูล ได้แก่การเรียกค้น เพิ่ม ลบ และปรับปรุงฐานข้อมูล
Subject Area Database : SADB
หมายถึง ฐานข้อมูลซับเจ็กแอเรีย
Analytical Database
หมายถึง ฐานข้อมูลวิเคราะห์ เก็บข้อมูลและสารสนเทศที่ดึงมาจากฐานข้อมูลเชิงปฏิบัติการและฐานข้อมูลภายนอก ประกอบด้วยข้อมูลสรุปและสารสนเทศที่จำเป็นต่อผู้จัดการองค์กรและผู้ใช้
Multidimensional Database
หมายถึง ระบบฐานข้อมูลหลายมิติ
Data Warehouses
หมายถึง ฐานข้อมูลขนาดใหญ่ขององค์กรหรือหน่วยงานหนึ่งๆ ซึ่งเก็บรวบรวมข้อมูล
จากฐานข้อมูลระบบงานประจำวัน
Distributed Databases
หมายถึง ระบบฐานข้อมูลแบบกระจายนี้จะมีการแบ่งข้อมูลออกเป็นส่วนๆ กระจายอยู่ตามไซต์ (Site) หรือสาขาต่างๆ ขององค์กร ลักษณะเช่นนี้จะมีความเหมาะสมมากกับธุรกิจธนาคารหรือธุรกิจอื่นๆ ที่ต้องมีการแลกเปลี่ยนข้อมูลอยู่ตลอดเวลา
End User Databases
หมายถึง ผู้ใช้คอมพิวเตอร์ที่นำโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่คนอื่นสร้างหรือเขียนไว้แล้วมาใช้ ฐานข้อมูลที่เกี่ยวข้องกัน ซึ่งถูกนำมาใช้ในงานด้านต่างๆ
Field
เขตข้อมูล หมายถึง หน่วยของข้อมูลที่ประกอบขึ้นจากตัวอักขระตั้งแต่หนึ่งตัวขึ้นไปมารวมกันแล้วได้ความหมายของสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เช่น ชื่อ ที่อยู่ เป็นต้น
Record
ระเบียน หมายถึง หน่วยของข้อมูลที่เกิดจากการนเอาเขตข้อมูลหลาย ๆ เขตข้อมูลมารวมกัน เพื่อเกิดเป็นข้อมูลเรื่องใดเรื่องหนึ่ง เช่น ข้อมูลของนักศึกษา 1 ระเบียน (1 คน) จะประกอบด้วย
Table
หมายถึง กลุ่มของข้อมูลใดข้อมูลหนึ่งที่มีความเกี่ยวข้องกันหรือมีความสัมพันธ์กัน และถูกรวบรวมเป็นเรื่องราวเดียวกัน ถูกจัดมารวมอยู่ในที่เดียวกันอย่างเป็นระเบียบ ทำให้ง่ายต่อการค้นหา เข้าใจและนำไปใช้งาน
Entity
หมายถึง ชื่อของสิ่งใดสิ่งหนึ่ง ได้แก่ คน สถานที่ สิ่งของ การกระทำ ซึ่งต้องการจัดก็บข้อมูลไว้ เช่น
เอนทิตี้ลูกค้า เอนทิตี้พนักงาน
InfraStucture Management
หมายถึง การจัดการโครงสร้างพื้นฐานของระบบเครือข่าย การพัฒนาโครงสร้างที่เอื้ออำนวยให้เกิด
ความเจริญเติบโตต่างๆ ทั้งในด้านนโยบายและด้านกายภาพ เช่น ในด้านทรัพย์สินทางปัญญา
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)